• ยินดีต้อนรับ, บุคคลทั่วไป



  • กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ สมัครสมาชิก.

    เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น

    ผู้เขียน หัวข้อ: ขั้วพัดลมระบายความร้อนหลวม  (อ่าน 421 ครั้ง)

    • บุคคลทั่วไป
    พัดลมติดติด ดับดับ ครับ ลองขยับขั้วดูก็ติดพอวี่งไปรถเขย่า บางครั้งก็ดับความร้อนเลยขึ้นสูง ลองใชEsilicon ล็อกดู ก็ยังไม่ดีขึ้น เข้าใจว่าขั้ว contact ในตัวพัดลม หลวมหรือหลุด ช่างว่าถอดพัดลมมาซ่อมได้แต่ยากหน่อยเพราะต้องถอดชุดกระจังหน้าและแผงชุดพัดลมก่อน ใครมีข้อแนะนำบ้างครับ
    [ 29 พ.ค. 2544 , 11:08:16 น

    วีรชาติ

    • บุคคลทั่วไป
    RE: ขั้วพัดลมระบายความร้อนหลวม
    « ตอบกลับ #1 เมื่อ: เมษายน 01, 1998, 09:56:35 am »
    รถ VENTO 97 ครับ
    29 พ.ค. 2544 , 11:14:05 น

    แผน

    • บุคคลทั่วไป
    RE: ขั้วพัดลมระบายความร้อนหลวม
    « ตอบกลับ #2 เมื่อ: เมษายน 01, 1998, 09:56:35 am »
    มีพัดลมbochของโฟลEแทE900บาท
    29 พ.ค. 2544 , 11:25:44 น

    หมี

    • บุคคลทั่วไป
    RE: ขั้วพัดลมระบายความร้อนหลวม
    « ตอบกลับ #3 เมื่อ: เมษายน 01, 1998, 09:56:35 am »
    เสียที่ขั้วก็น่าจะแก้ที่ขั้วอย่างเดียวนี่ครับ ไม่น่าจะต้องถอดออกมาทั้งลูกเลยนี่ครับ
    29 พ.ค. 2544 , 12:43:15 น

    otto63

    • บุคคลทั่วไป
    RE: ขั้วพัดลมระบายความร้อนหลวม
    « ตอบกลับ #4 เมื่อ: เมษายน 01, 1998, 09:56:35 am »
    เจอแถวคลองถม 1000 บาทครับ 95% มีอันเดียวลองไฟดูแล้วใช้ได้ครับ ถ้าจะไปดูเข้าซอย ร.พ กลาง เป็นแผงอยู่ขวามือครับ ประมาณ 100 เมตร.....
    29 พ.ค. 2544 , 12:51:57 น

    ม้า

    • บุคคลทั่วไป
    RE: ขั้วพัดลมระบายความร้อนหลวม
    « ตอบกลับ #5 เมื่อ: เมษายน 01, 1998, 09:56:35 am »
    ปัญหานี้เจอบ่อยนะ ผมว่าแปรงถ่านในมอเตอรEืด มากกว่า ถอดมาเคาะแปรงถ้านหน่อยก็คงหาย ลองหาอ่านในกระทู้ล่างๆดูครับ
    29 พ.ค. 2544 , 15:41:52 น

    ม้า

    • บุคคลทั่วไป
    RE: ขั้วพัดลมระบายความร้อนหลวม
    « ตอบกลับ #6 เมื่อ: เมษายน 01, 1998, 09:56:35 am »
    หรือไม่กE ลองหาอะไรแข็งๆมาเคาะที่ตัวมอเตอรE แรง น่าจะดีขึ้นครับ
    29 พ.ค. 2544 , 15:49:28 น

    P'

    • บุคคลทั่วไป
    RE: ขั้วพัดลมระบายความร้อนหลวม
    « ตอบกลับ #7 เมื่อ: เมษายน 01, 1998, 09:56:35 am »
    ลองโทรไปเช็คที่ร้าน ต.รุ่งเรือง ดูบอกว่ามาจากชมรม VW THAI น่าจะได้ราคาพิเศษครับ
    29 พ.ค. 2544 , 17:24:52 น

    หมี

    • บุคคลทั่วไป
    RE: ขั้วพัดลมระบายความร้อนหลวม
    « ตอบกลับ #8 เมื่อ: เมษายน 01, 1998, 09:56:35 am »
    วิธีถอดออกมาเคาะแปรงถ่านนี่ทำยังไงครับ
    30 พ.ค. 2544 , 16:36:14 น

    จิตติ

    • บุคคลทั่วไป
    RE: ขั้วพัดลมระบายความร้อนหลวม
    « ตอบกลับ #9 เมื่อ: เมษายน 01, 1998, 09:56:35 am »
    การที่พัดลมติดEดับE เป็นอาการเริ่มแรกของพัดลมพังครับ  ถ้าจะรื้อออกมาจริงE แนะนำว่าเปลี่ยนตัวใหม่จะคุ้มกว่า  เพราะรื้อยากมาก  ตามบทความข้างล่างนีE ซึ่งเตรียมไวE Update Homepage  เวลาคุณอนุรัตนE่าง นะครับ

    เปลี่ยนพัดลมไฟฟ้า

           เมื่อเปิดฝากระโปรงห้องเครื่องของ กอลE/เวนโตE แล้วยืนมองเข้าไปจากด้านหน้ารถ  ก็จะพบใบพัดลม 2 ชุดอยู่หลังหม้อน้ำ  ซึ่งมันเป็นอุปกรณEลักในการดูดลมจากภายนอก  ให้เป่าผ่านแผงระบายความร้อนของระบบปรับอากาศ  ( ต่อไปจะเรียกสั้นEว่า คอนเด็นเซอรEอรE)  และเป่าผ่านหม้อน้ำเข้ามาในห้องเครื่อง  เพื่อเป็นการระบายเอาความร้อนทิ้งออกไปจากระบบ  หากสังเกตุดีE ก็จะพบว่าเฉพาะใบพัดชุดด้านขวาเท่านั้นที่มีมอเตอรEิดอยูE ส่วนชุดด้านซ้ายเป็นใบพัดเปล่าE แต่มีสายพานขนาดกEยเตีEวเส้นเล็กคล้องเอาไว้กับแกนของใบพัดชุดด้านขวา  เมื่อมอเตอรEมุน  นอกจากจะทำให้ใบพัดชุดด้านขวาหมุนแล้ว  มันก็ยังจะฉุดให้ใบพัดชุดด้านซ้ายหมุนตามไปด้วย
           มอเตอรEองพัดลมชุดด้านขวาจะทำงาน 2 จังหวะ  สั่งการผ่านสายไฟที่เสียบก้นมอเตอรE ซึ่งถ้าลองดึงออกมาดูจะเห็นว่ามีสามขั้ว   จังหวะทีE1  จะหมุนที่ความเร็วรอบปกติ  ส่วนจังหวะทีE2  จะหมุนเร็วจีE เกือบสองเท่าของจังหวะทีE1  ทำให้เกิดเสียงดังมากจนบางครั้งเวลารถติดไฟแดง  มอเตอรEซคEวัญอ่อนที่จอดติดอยู่ข้างEถึงกับทำท่าตกใจ  อุปกรณEี่จะสั่งให้มอเตอรEัดลมไฟฟ้าไม่หมุนหรือหมุนในจังหวะใดนั้น มีดังต่อไปนีE
           1.)  สวิทชEม้อน้ำ  หากยืนหันหน้าเข้าห้องเครื่อง  สวิทชEี้จะอยู่ที่มุมบนขวาของหม้อน้ำ  มีขั้วสายไฟที่เป็นเส้นเดียวกันกับที่จะต่อไปยังก้นมอเตอรE เสียบครอบเอาไวE หากลองดึงออกมาดูก็จะพบว่ามี 3 ขั้วเช่นเดียวกัน  ให้จำขั้วสายไฟที่ตำแหน่งสวิทชEม้อน้ำนี้ไว้ดีE เพราะเราจะใช้มันเป็นจุดทดสอบการทำงานของมอเตอรEัดลม  ในกรณีที่ไม่แน่ใจว่ามันชำรุดแล้วหรือไมE  สำหรับหน้าที่การทำงานของสวิทชEม้อน้ำก็คือ  มันจะโผล่หัวเข้าไปวัดอุณหภูมิของน้ำในหม้อน้ำระบายความร้อน  เมื่ออุณหภูมิต่ำกว่า  70 องศาเซลเซียสมันจะปิดพัดลม  เมื่ออุณหภูมิสูงถึง 70 องศาเซลเซียส  มันก็จะสั่งเปิดพัดลมในจังหวะ 1  แต่ถ้าอุณหภูมิยังสูงขึ้นไปเรื่อยEอีกจนเกิน 90 องศาเซลเซียส  มันก็จะสั่งเปิดพัดลมในจังหวะ 2
           2.)  สวิทชEรงดันน้ำยาของระบบปรับอากาศ  สวิทชEันนี้จะเสียบติดอยู่กับกรองไดรเออรE  ซึ่งจะหายากหน่อยเพราะกรองไดรเออรEันหลบอยู่ในกันชนหน้าค่อนออกมาทางด้านซ้าย  ( มองจากด้านหน้าเข้าหาตัวรถ )  ต้องถอดกันชนออกมาก่อนจึงจะเห็นได้ชัด  สวิทชEันนี้มีสายไฟเสียบครอบไว้คล้ายEกับสวิทชEม้อน้ำ  หน้าที่การทำงานของมันก็คือ  มันจะโผล่หัวเข้าไปในกระปุกไดรเออรEพื่อวัดแรงดัน  เมื่อแรงดันน้ำยาของระบบปรับอากาศต่ำกว่า  12.5 บารE มันจะปิดพัดลม  เมื่อแรงดันน้ำยาสูงถึง 12.5 บารEมันจะเปิดพัดลมจังหวะ 1  แต่เมื่อแรงดันน้ำยายังสูงขึ้นไปเรื่อยEจนถึง  16 บารE มันจะเปิดพัดลมจังหวะ 2
           จะเห็นได้ว่าสวิทชEม้อน้ำ  และสวิทชEรงดันน้ำยาแอรE คอยเจ้ากี้เจ้าการเปิดปิดพัดลมให้ในจังหวะต่างEซึ่งถ้าหากพัดลมและสวิทชEั้งสองตัวนี้อยู่ในสภาพสมบูรณE ระบบมันก็จะรักษาอุณหภูมิของน้ำหล่อเย็นได้คงทีE ไมE Over Heat  ในขณะที่แรงดันน้ำยาแอรE็จะอยู่ในช่วงเหมาะสม  ทำให้แอรEย็นฉ่ำ  ไม่ว่ารถจะวิ่งช้า E ติดเป็นตังเม อยู่ในเมือง  หรือควบด้วยความเร็วสูงอยู่บน Highway  ( ในกรณีหลังนี้จะมีกระแสลมจากภายนอกช่วยเป่าเข้าจากด้านหน้ารถ ) ทั้งหมดนี้จะเป็นไปโดยอัตโนมัติ  เจ้าของไม่ต้องไปยุ่งแต่อย่างใด
           แต่โชคไม่ดีที่มอเตอรEัดลมนั้นมีอายุการใช้งาน  กล่าวคือมอเตอรEันใหม่ๆ  นั้นมันจะหมุนแรง  ดูดลม ( โดยเฉพาะอย่างยิ่งในจังหวะ 2 ) มีเสียงดังอย่างกับกังหันอัดอากาศของเครื่องยนตE Gas Turbine  ที่ใช้ในเครื่องบิน  737-400  ลำที่นายกทักษิณขึ้นไปเชียงใหม่ไม่ทัน  แต่พอใช้ไปเรื่อยE นานเข้าE เรี่ยวแรงมันก็อ่อนล้าลงเหมือนคนแกE จนเมื่อถึงอายุขัย  มันก็ขาดใจไม่หมุนเอาเสียดื้อE เมื่อเป็นเช่นนี้ก็ไม่มีทางเลือกอื่นนอกจากจะต้องเปลี่ยนพัดลมอันใหมE เพราะมอเตอรEัวนี้เป็นกำลังหลักแต่เพียงอย่างเดียวในการดูดลมระบายความร้อน  ห้ามชำรุดเสียหายเด็ดขาด  และที่โชคไม่ดียิ่งไปกว่านั้นก็คือการถอดเอาพัดลมอันเก่าออกมาเพื่อที่จะเปลี่ยนใส่พัดลมอันใหม่นั้น  มันช่างยากลำบากอย่างไม่น่าเชื่อ  ( อ่านไปเรื่อยE แล้วจะตกใจเอง )  ส่วนอายุขัยของพัดลมนั้นก็เป็นที่น่าสงสัยมาก  ตัวอย่างเช่นของติดรถคุณอนุรัตนEิ่งมาตั้ง  180,000 กม. แล้วยังเฉยE ส่วนของติดรถผม  ตัวแรกขาดใจไปทีE92,000 กม.  พอเปลี่ยนเป็นตัวที่สอง  กะว่าจะใช้แบบสบายEไปสักอีกอย่างน้อย  80,000 กม.  พอเอาเข้าจริงแคE 25,000 กม.  ก็มาบอกศาลากันเสียแล้ว  ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นตัวที่สาม  ก็ยังไม่รู้ว่าจะไปได้เท่ากับตัวแรกหรือตัวที่สอง
           ขั้นตอนการถอดเปลี่ยนพัดลมที่จะเล่าให้ฟังต่อไปนีE เจตนาเพียงเพื่อให้เห็นภาพโดยรวมว่า  การถอดเปลี่ยนพัดลมนั้นเราจะต้องผจญกรรมอะไรบ้าง   ในกรณีที่ไม่ได้ลงมือเองก็จะได้ทำใจไว้ก่อนและจะได้เข้าใจว่าช่างกำลังทำอะไร  ในกรณีที่ใจถึงอยากทำเอง  ก็จะได้เตรียมกำลังพลเอาไว้คอยช่วยเหลือ  ตลอดจนเครื่องมือ และอุปกรณE ให้พอเพียง
           อุปสรรคประการสำคัญในการถอดเปลี่ยนพัดลมสำหรับรถ กอลE/เวนโตEรุ่นนี้ก็คือ   มันถูกออกแบบขายึดมอเตอรEอาไว้เพื่อให้ถอดพัดลมออกได้จากด้านหน้าเท่านั้น   จะด้วยเหตุผลอะไรผมก็จนด้วยเกล้าเหมือนกัน  นี่ถ้าใครหาทางดัดแปลงขายึดมอเตอรEห้สามารถถอดออกได้จากด้านหลัง  ก็สมควรอย่างยิ่งที่จะได้รับรางวัลโนเบลสาขาซ่อมรถ VW ติดกันถึง 2 งวดซ้อน  เพราะมันจะทำให้กลายเป็นงานง่ายชนิดที่โน้ตกับตูนบอกว่าเป็นเรื่องสิวE แต่เอาละ  เมื่อฝรั่งมันทำชุ่ยมาอย่างนีE ช่าง DIY อย่างหมู่เฮาถึงกับจะซ่อมไม่ได้เลยก็ให้มันรู้ไป
           ความที่พัดลมจะต้องดูดลมผ่านหม้อน้ำและคอนเด็นเซอรEอรE ทำให้หม้อน้ำและคอนเด็นเซอรEอรEันจะต้องวางเรียงซ้อนกัน  บังอยู่หน้ากระโจมของใบพัดลม  โดยถ้ามองจากกระจังหน้ารถเข้าไป  เราจะเห็นคอนเด็นเซอรEอรE่อนชั้นหนึ่ง  จากนั้นถัดเข้าไปจึงเป็นหม้อน้ำ  แล้วจึงจะถึงกระโจมของใบพัดลม  ในหนังสือคู่มือซ่อมรถของ  Bentley  ถึงกับแนะนำว่าให้ถอดแผงคอนเด็นเซอรEอรEและหม้อน้ำออกก่อน  แล้วค่อยถอดพัดลม  แต่ปัญหาที่ตามมาก็คือถ้าจะถอดแผงคอนเด็นเซอรEอรE ก็จะต้องถ่ายน้ำยาแอรEอกมาทั้งหมด  ซึ่งการเติมกลับเข้าไปจะต้องทำที่ร้านซ่อมแอรEละเสียค่าใช้จ่ายหลายตังคE ( เรียกว่าซ่อมพัดลมแถมซ่อมแอรEรี  )   มิหนำซ้ำการที่อยู่ดีEแล้วจะต้องไปซ่อมแอรEั้น  ก็อาจจะติดโรคอะไรให้ต้องซ่อมอย่างอื่นEแถมมาอีกก็เป็นไดE สำหรับการถอดหม้อน้ำนั้นต้องถ่ายน้ำยาหล่อเย็นออกมาบางส่วน  แต่อันนี้ไม่ใช่ปัญหาใหญ่เพราะเราเติมกลับได้เองง่ายE ราคาไม่กี่ตังคE
           ดังนั้นเราจึงวางแผนที่จะถอดเฉพาะหม้อน้ำ  และยอมถ่ายน้ำยาหล่อเย็นบางส่วน  จากนั้นเราจะหาทางขยับให้แผงคอนเด็นเซอรEอรEอ้าออกมาทางด้านหน้ารถ  เพื่อสร้างช่องทางสวรรคE เนื่องจากท่อน้ำยาแอรEส้นบน  ซึ่งต่อจากระบบมายังคอนเดนเซอรEป็นสายอ่อน พอที่จะให้ตัวได้บ้าง  เมื่อแผงคอนเด็นเซอรEอรE อ้าออกมาจากกระโจมใบพัดลมจนเป็นช่องกว้างพอ  เราก็จะถอดมอเตอรEัดลมพร้อมใบพัด  แล้วล้วงออกมาทางด้านล่างโดยผ่านช่องทางสวรรคEีE จากนั้นก็เอามอเตอรEัดลมตัวใหม่ยัดกลับเข้าไปติดตั้งด้วยวิธีเดียวกัน  ตามขั้นตอนคร่าวE ดังต่อไปนีE
           1.)  ถอดกระจังหน้าด้วยไขควงปากแบนอันเล็กE ปลดคลิปล็อค
           2.)  ถอดชุดไฟเลี้ยวในกันชน พร้อมแผงสะท้อนแสง  ถอดหลอดออกมาเก็บ กันแตก
           3.)  ถอดกันชน ซึงยึดกับคานหน้าด้วยสกรูวEบอรE10  และยึดกับซุ้มล้อหน้าด้วยหมุดพลาสติค ข้างละ 2 ตัว  ถ้าไม่เคยถอดเลย อาจต้องใช้ผู้ช่วย ช่วยกันอุ้มออกมา
           4.)  ถอดโคมไฟหน้าทั้งสองข้าง  ซึ่งยึดด้วยสกรูวEบอรE8 ข้างละ 4 ตัว
           5.)  ถอดแผงหิ้วคานหน้า ซึ่งเกี่ยวเอาไว้กับช่องล็อคฝากระโปรงด้านบนห้องเครื่อง
           6.)  ถอดคานหน้า
           มาถึงขั้นนีE ด้านหน้ารถจะเปลือยเปล่าและเราจะมองเห็นแผงไฟเบอรEลาสที่ใช้หิ้วชุดกระโจมลม หม้อน้ำ  และคอนเด็นเซอรEอรE ซึ่งโดยปกติมันจะยึดติดกับคานหน้าและมีความแข็งแรงในตัวเอง  แต่ในสภาพที่คานหน้าถูกถอดออกไปก่อนแล้ว  แผงนี้จะให้ตัวเด้งดึEEได้เล็กน้อย  จากนั้นเราจะเริ่มถอดส่วนประกอบในกระโจมลมและคลายน็อตที่ยึดมอเตอรEัดลมให้หลวมเตรียมเอาไว้ก่อน
           7.)  ถอดสลักพลาสติคของแผ่นปิดกระโจมลมด้านหน้าใบพัด  ซึ่งเป็นหมุดพลาสติค และคลายน็อตยึดมอเตอรEัดลมพร้อมปลดสายออกจากก้นพัดลม
           8.)  ถอดสกรูวEึดแผงคอนเด็นเซอรEอรE และให้สังเกตุท่อที่วิ่งเข้ามาเสียบ  ซึ่งจะมี 2 ท่อที่มุมขวาบน เป็นสายอ่อน และมุมซ้ายล่าง  เป็นท่อแข็ง ไปที่กรองไดรเออรE แต่ท่อที่ต่อออกไปจากกรองไดรเออรEีกด้านหนึ่งนั้นเป็นสายอ่อน  ให้ถอดน็อตยึดกรองไดรเออรEอกจากขายึด  เพื่อให้ขยับตัวไปได้อย่างปลอดภัยพร้อมกับแผงคอนเด็นเซอรEากมีการเคลื่อนไหว
           9.)  เลื่อยแผงไฟเบอรEี่มุมล่างซ้าย  ในตำแหน่งที่ท่อแข็งซึ่งจะต่อเข้ากรองไดรเออรEอดทะลุออกมา  ให้ขาดออกทางด้านล่าง  กว้างประมาณ 1 นิ้ว เพื่อให้โยกท่อหลบออกมาทางด้านล่างไดE และเลื่อยแผงไฟเบอรEี่มุมขวาบนในตำแหน่งที่ท่ออ่อนสอดทะลุออกมา  ให้ขาดเป็นช่องยาวออกมาทางซ้ายประมาณ 2 นิ้ว  และให้กว้างเท่ากับช่องเดิม
           10.)  จากนั้นให้ทดลองค่อยEขยับแผงคอนเด็นเซอรEละกรองไดรเออรEดยโยกให้ท่อแข็งหลบออกมาทางด้านล่างของแผงไฟเบอรE และให้ท่ออ่อนมุมบนขวา  เลื่อนตามออกมาทางด้านซ้ายในช่องที่เลื่อยเพิ่ม  หากทำได้สำเร็จ  จะได้พื้นที่ด้านล่างหลังแผงคอนเด็นเซอรEว้างออกมาประมาณ  5 นิ้ว  เปรียบประดุจช่องทางสวรรคE
           11.)  ถอดท่อน้ำเส้นบนและล่างของหม้อน้ำ  ซึ่งเป็นแหวนรัดสปริง  ใช้คีมบีบคลายล็อคแล้วค่อยEรูดท่อยางออกมา  ( ค่อนข้างยาก เพราะพื้นที่ทำงานจำกัด )  เมื่อถอดออกมาไดE ก็จะมีน้ำยาหล่อเย็นไหลออกมาเลอะเทอะประมาณ 2 ลิตร
           12.)  ถอดสกรูวEึดหม้อน้ำ  จากนั้นหม้อน้ำก็จะเป็นอิสระจากโครงไฟเบอรEลาส  ให้ใช้ผู้ช่วยง้างแผงคอนเด็นเซอรEอรEอาไว้เหมือนขั้นตอนทีE10  แล้วล้วงเอาหม้อน้ำผ่านช่องทางสวรรคEอกมาจากด้านล่าง
           13.)  ปลดสายพานกEยเตีEวเส้นเล็ก  แล้วจึงถอดแผ่นปิดกระโจมลมด้านหน้าใบพัด  แล้วล้วงผ่านช่องทางสวรรคEอกมาจากด้านล่าง
           14.)  ถอดมอเตอรEัดลมออกจากขายึดด้านหลัง  ซึ่งได้คลายเกลียวเอาไว้รอแล้ว  และเช่นเดียวกับขั้นตอนทีE12  คือต้องให้ผู้ช่วยง้างแผงคอนเด็นเซอรEอรEอาไวE แล้วล้วงมอเตอรEัดลมพร้อมใบพัดผ่านช่องทางสวรรคEอกมาจากด้านล่าง  ซึ่งถ้าทำสำเร็จ  ท่านก็จะทราบซึ้งถึงความรู้สึกของสัตวEพทยEี่ช่วยทำคลอดลูกวัวซึ่งทารกคลอดในท่าผลาดแผลง
           มาถึงขั้นนี้แล้ว  ถ้าเหนื่อยก็แนะนำให้พักไปกินข้าวผัด  ใส่ไข่ดาวทอดกรอบE ตบท้ายด้วยโอเลี้ยงสักแก้วแล้วค่อยกลับมาผจญกรรมกันต่อ  ขั้นตอนที่เหลือส่วนใหญ่จะเป็นการประกอบกลับ  ซึ่งถ้าหากมีเวลาก็ควรล้างทำความสะอาดชิ้นส่วนต่างE โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  ครีบระบายความร้อนของหม้อน้ำ ซึ่งเป็นโอกาสอันดีที่สามารถถอดออกมาทำได้อย่างสะดวกนอกตัวรถ
           15.)  เอาพัดลมตัวใหม่ประกอบกลับผ่านช่องทางสวรรคEข้าไป  ย้อนรอยขั้นตอนทีE14  พร้อมกับยึดน็อตที่ขามอเตอรEห้แน่นหนา
           16.)  คล้องสายพานกEยเตีEวเส้นเล็ก  และประกอบแผ่นปิดกระโจมลม  ย้อนรอยขั้นตอนทีE13  และขั้นตอนทีE7  จากนั้นก่อนประกอบชิ้นส่วนที่เหลือ  ให้ทดลองว่าพัดลมตัวใหม่ทำงานได้ดีหรือไมEโดยการเสียบขั้วสายไฟที่ก้นมอเตอรE แล้วจัEพEั้วสายทีE 1 กับ 3 ของสวิทชEม้อน้ำ  ซึ่งพัดลมตัวใหม่มันควรจะทำงานอย่างขยันขันแข็งในจังหวะ 1  และถ้าจะทดลองในจังหวะ 2  ก็ให้จัEพEั้วทีE 2 กับ 3  ของขั้วสายสวิทชEม้อน้ำ  ถ้าจะให้แน่ใจยิ่งขึ้น  ก็ให้ถอดขั้วสายจาก สวิทชEรงดันน้ำยาของระบบปรับอากาศ  ที่เสียบติดกับกรองไดรเออรE แล้วเอามาจัEพEั้วทีE 1 กับ 3  ในจังหวะ 1  และขั้วทีE2 กับ 4  ในจังหวะ 2  ซึ่งหวังว่าคงจะไม่มีปัญหานะครับ
           17.)  ประกอบชุดหม้อน้ำ  ย้อนรอยขั้นตอนทีE12 และ 11
           18.)  ขยับแผงคอนเดนเซอรEอรEข้าที่เดิมและยึดให้แน่น  พร้อมกับยึดกรองไดรเออรEข้ากับขายึด  เป็นการปิดผนึกช่องทางสวรรคE ( หวังว่าคงจะไม่ต้องเปิดกันบ่อยEนะ  สงสารเถอะ )  เป็นการย้อนรอยขั้นตอนทีE10 , 9  และ 8
           19.)  ส่วนการย้อนรอยขั้นตอนทีE6 , 5 , 4 , 3 , 2 และ 1  นั้น  ถือว่าเป็นเรื่องหมูมาก  เมื่อเทียบกับการรื้อออกมา  จะมี Trick เล็กน้อยตอนประกอบคานหน้า  ที่จะต้องร้อยสกรูวEลวมE ให้ครบทุกตัวก่อนแล้วค่อยEขยับหาตำแหน่งที่เหมาะสม  จึงจะสามารถขันแน่นทุกตัวได้โดยไม่ติดขัด

    30 พ.ค. 2544 , 22:46:16 น

    • บุคคลทั่วไป
    RE: ขั้วพัดลมระบายความร้อนหลวม
    « ตอบกลับ #10 เมื่อ: เมษายน 01, 1998, 09:56:35 am »
    ผม copy ไว้แล้วครับคุณจิตติ

    ว่างๆวันไหนเอารถมาถ่ายรูปเพื่อบอกจุดสำคัญในแต่ละข้อ รวมถึงเทคนิคการรื้อดีไหมครับ

    1 มิ.ย. 2544 , 14:05:29 น